วันเสาร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2553

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

วิทยาศาตร์ออนไลน์

โดย อ.ยุภาภรณ์ เสาโกมุท (27/01/47)
- ความรู้ เรื่องการผสมเทียม (Artificial Insemination)
- ความรู้ เรื่องการกำเนิดดิน
- ความรู้ เรื่องพฤติกรรม (Behavior)
- ความรู้ เรื่องระบบการย่อยอาหาร (Digestive System)
- ความรู้ เรื่องอาหาร (Food)
- ความรู้ เรื่อง ความเป็นกรด-เบสของดิน
- ความรู้ เรื่อง ดาว
- ความรู้ เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว
- ความรู้ เรื่อง ระบบขับถ่าย
- ความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของเลือด
- ความรู้ เรื่อง แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
โดย อ.นฤมล สินธุรัตน์ (27/01/47)
- ความรู้ เรื่องสารและสมบัติของสาร
- ความรู้ เรื่องสถานะของสาร
- ความรู้ เรื่องมวลอะตอมและมวลโมเลกุล
- ความรู้ เรื่องทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
- ความรู้ เรื่องการแยกสาร
- ความรู้ เรื่อง พันธะเคมี
- ความรู้ เรื่อง การกลั่น
- ความรู้ เรื่อง ธาตุและสารประกอบ
- ความรู้ เรื่อง สมบัติบางประการของคอลลอยด์
- ความรู้ เรื่อง สัญลักษณ์และการเรียกชื่อธาตุ
โดย อ.ทรงเดช ทองคำ (26/01/47)
แบบเรียนด้วยตนเอง (ความรู้และแบบทดสอบ)
อาหาร
โลกและการเปลี่ยนแปลง
ดิน หิน แร่
แบบเรียนด้วยตนเอง (ความรู้และแบบทดสอบ)
พันธะเคมี ( เวปอื่น )
โครงสร้างอะตอม
ตารางธาตุ
โดย อ.รัตนา ชุปวา (27/01/47)
- ความรู้ เรื่องการแยกองค์ประกอบของสารเนื้อเดียว
- ความรู้ เรื่องความกดอากาศ
- ความรู้ เรื่องชั้นบรรยากาศแบ่งตามสมบัติอุตุนิยมวิทยา
- ความรู้ เรื่องเมฆ
- ความรู้ เรื่องโอโซนและสาร ซี เอฟ ซี
- ความรู้ เรื่องสารเนื้อเดียว
- ความรู้ เรื่อง กรด - เบสในชีวิตประจำวันและสิ่งแวดล้อม
- ความรู้ เรื่อง ปัจจัยที่ควบคุมการแพร่
- ความรู้ เรื่อง ปัจจัยสำคัญที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง
- ความรู้ เรื่อง สมบัติบางประการของสารละลายกรด
- ความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของเซลล์
โดย อ.รจนา ใจห้าว (27/01/47)
- ความรู้ เรื่องระบบโครงกระดูก
- ความรู้ เรื่องการหมุนเวียนของเลือดและก๊าซ
- ความรู้ เรื่องระบบหายใจ
- ความรู้ เรื่องระบบสืบพันธ์
- ความรู้ เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1
- ความรู้ เรื่อง กฏการเคลื่อนที่ข้อที่ 2
โดย อ.สุพัฒรา ดาวหน (27/01/47)
- ความรู้ เรื่องการเลี้ยวเบนของคลื่น
- ความรู้ เรื่องการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ำผ่านช่องเปิดคู่
- ความรู้ เรื่องการหักเหของคลื่น
- ความรู้ เรื่องคลื่นคืออะไร
- ความรู้ เรื่องส่วนประกอบของคลื่น
- ความรู้ เรื่อง สมดุลกล
- ความรู้ เรื่อง งาน
- ความรู้ เรื่อง พลังงาน
- ความรู้ เรื่อง อุปกรณ์ในวงไฟฟ้า
โดย อ.จงกล บัวสิงห์ (19/01/47)
- ความรู้เรื่อง แรง
- ความรู้ เรื่องกฎการเคลื่อนที่ข้อหนึ่งของนิวตันหรือกฎความเฉื่อย
- ความรู้ เรื่องมวล
- ความรู้ เรื่องกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน
- ความรู้ เรื่องสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ
- ความรู้ เรื่องกระแสไฟฟ้า
- ความรู้ เรื่องคุณสมบัติของแท่งแม่เหล็ก
- ความรู้ เรื่องแม่เหล็ก
- ความรู้ เรื่องสนามแม่เหล็กโลก
- ความรู้ เรื่องเส้นแรงแม่เหล็ก
- ความรู้ เรื่องแหล่งกำเนิดไฟฟ้า
- ความรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
- ความรู้ เรื่อง การเลี้ยวเบน
- ความรู้ เรื่อง การสะท้อน
- ความรู้ เรื่อง การหักเห
- ความรู้ เรื่อง บีตส์
- ความรู้ เรื่อง คลื่นนิ่ง
- ความรู้ เรื่อง ความถี่ธรรมชาติ
- ความรู้ เรื่อง การสั่นพ้อ
โดย อ.กัญญารัตน์ พรหมคุณ (26/01/47)
- ความรู้ เรื่องปฏิกิริยาเคมีในเซลล์
- ความรู้ เรื่องเมแทบอลิซึม
- ความรู้ เรื่องการสลายสารอาหารแบบใช้ออกซิเจน
- ความรู้ เรื่องการสลายอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน
- ความรู้ เรื่อง ชนิดของเอนไซม์
- ความรู้ เรื่อง การทำงานของเอนไซม์
- ความรู้ เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
- ความรู้ เรื่อง ตัวยับยั้งเอนไซม์( Inhibitor )
- ความรู้ เรื่อง ประโยชน์ของตัวยับยั้งเอนไซม์
- ความรู้ เรื่อง โครงสร้างและวิธีการแลกเปลี่ยนก๊าซของสิ่งมีชีวิต
- ความรู้ เรื่อง การหายใจของพืชหลังการเก็บเกี่ยว
- ความรู้ เรื่อง การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C3 และพืช C4
- ความรู้ เรื่อง แหล่งที่เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง
- ความรู้ เรื่อง การลำลียงน้ำ แร่ธาตุและอาหารของพืช
- ความรู้ เรื่อง ข้อสรุปแตกต่างระหว่างลำต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
โดย อ.เพชรรัตน์ วงศ์ชา (20/01/47)
- ความรู้ เรื่องการผลิตเกลือจากน้ำทะเล
- ความรู้ เรื่องเครื่องปั้นดินเผา
- ความรู้ เรื่องแร่รัตนชาติ
- ความรู้ เรื่องแร่เชื้อเพลิง
- ความรู้ เรื่องประเภทของอุตสาหกรรม
- ความรู้ เรื่อง สารละลายกรด
- ความรู้ เรื่อง การแยกสาร
- ความรู้ เรื่อง โครมาโทกราฟฟี
- ความรู้ เรื่อง ธาตุกัมมันตรังสี
โดย อ.ปาริชาด บัวแย้ม (25/01/47)
- ความรู้ เรื่องความหมายฟิสิกส์อะตอม
- ความรู้ เรื่องโครงสร้างสาร
- ความรู้ เรื่องทฤษฎีอะตอมของดอลตัน
- ความรู้ เรื่องการค้นพบรังสีคาโธด
- ความรู้ เรื่องการทดลองหาค่าประจุต่อมวลของทอมสัน
- ความรู้ เรื่องการทดลองหยดน้ำมันของมิลลิแกน
- ความรู้ เรื่องแบบจำลองอะตอมของทอมสัน
- ความรู้ เรื่องแบบจำลองอะตอมของรัทเธอร์ฟอร์ด
- ความรู้ เรื่องแบบจำลองอะตอมของบอร์
- ความรู้ เรื่องสเปกตรัมของอะตอม
- ความรู้ เรื่องอนุกรมเส้นสเปกตรัม
- ความรู้ เรื่องรัศมีวงโคจร ความเร็วและพลังงานของอิเล็กตรอนตามแบบของบอร์
- ความรู้ เรื่องการทดลองของแฟรงค์และเฮริต์
- ความรู้ เรื่องรังสีเอกซ์
- ความรู้ เรื่องปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตริก 1
- ความรู้ เรื่องปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตริก 2
- ความรู้ เรื่องทวิภาคของคลื่นและอนุภาคของเดอ บรอยล์
- ความรู้ เรื่องหลักความไม่แน่นอนและโอกาสเป็นไปได้ของไฮเซนเบริก
- ความรู้ เรื่องกลศาสตร์ควอนตัม
- ความรู้ เรื่องการเขียนปฏิกิริยานิวเคลียร์
- ความรู้ เรื่องการค้นพบนิวตรอน
- ความรู้ เรื่องการค้นพบโปรตอน
- ความรู้ เรื่องการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
- ความรู้ เรื่องความหมาย ฟิสิกส์นิวเคลียร์
- ความรู้ เรื่องชนิดของกัมมันตภาพรังสี
- ความรู้ เรื่องปฏิกิริยานิวเคลียร์
- ความรู้ เรื่องประวัติการค้นพบกัมมันตภาพรังสี
- ความรู้ เรื่องรัศมีนิวเคลียส
- ความรู้ เรื่องลูกระเบิดปรมาณูลูกที่สอง
- ความรู้ เรื่องเวลาครึ่งชีวิต
โดย อ.สมรักษ์ สีหาภาค
- ความรู้ เรื่อง สมบัติของเหล็ก
- ความรู้ เรื่อง สมบัติของทองแดง
- ความรู้ เรื่อง สมบัติของสังกะสี
- ความรู้ เรื่อง สมบัติของแคลเซียม
- ความรู้ เรื่อง สมบัติของโครเมียม
- ความรู้ เรื่อง วิตามิน
- ความรู้ เรื่อง โปรตีน
- ความรู้ เรื่อง น้ำ
- ความรู้ เรื่อง คาร์โบไฮเดรด
- ความรู้ เรื่อง ไขมัน
โดย อ.ศักดดนัย สืบเสน
- ความรู้ เรื่อง การถ่ายทอดพันธุกรรม
- ความรู้ เรื่อง สิ่งกำหนดเพศในมนุษย์
- ความรู้ เรื่อง พันธุศาสตร์
- ความรู้ เรื่อง การโคลนยีน (GENE CLONING)
- ความรู้ เรื่อง ประวัติของเมนเดล
โดย อ.เดช ผิวอ่อน
- ความรู้ เรื่อง กำลังไฟฟ้า
- ความรู้ เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
- ความรู้ เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน
- ความรู้ เรื่อง เต้ารับและเต้าเสียบ
- ความรู้ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า
- ความรู้ เรื่อง วงจรไฟฟ้า
- ความรู้ เรื่อง สะพานไฟ
ที่มา http://patchara1.igetweb.com/index.php?mo=3&art=43827

เมืองเชลียงปริทรรศน์52




























สวัสดิศกสิ่งศักดิ์สิทธิ์สัมฤทธิผล บันดาลดลสมประสงค์จงพรรษา
ให้ปราศทุกข์ปลอดโรคภัยไร้โรคา บุญนำพาร่ำรวยทรัพย์นับอนันต์
ให้สูงศักดิ์สูงยศปรากฏชื่อ เกียรติก้องลือชาเดชทั่วเขตขัณฑ์
ชาญวิชาเชาว์ปัญญาเลิศพลานันท์ เกษมสันต์ตลอดปีมีสุขเทอญ




โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง (moment of force) หรือโมเมนต์ (moment) หมายถึง ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุเพื่อให้วัตถุหมุนไปรอบจุดหมุน ดังนั้น โมเมนต์ของแรงก็คือ ผลคูณของแรงกับระยะตั้งฉากจากแนวแรงถึงจุดหมุน ดังสูตร

ทิศทางของโมเมนต์ มี 2 ทิศทาง คือ
1. โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา
2. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา

รูปแสดงทิศทางของโมเมนต์

จากรูป โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = WxL2 (นิวตัน-เมตร)
โมเมต์ทวนเข็มนาฬิกา = ExL1 (นิวตัน-เมตร)
ถ้ามีแรงหลายแรงกระทำต่อวัตถุชิ้นหนึ่ง แล้วทำให้วัตถุนั้นอยู่ในสภาวะสมดุลจะได้ว่า
ผลรวมของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา

คาน
หลัก การของโมเมนต์ เรานำมาใช้กับอุปกรณ์ที่เรียกว่า คาน (lever) หรือคานดีดคานงัด คานเป็นเครื่องกลชนิดหนึ่งที่ใช้ดีดงัดวัตถุให้เคลื่อนที่รอบจุดหมด (fulcrum) มีลักษณะเป็นแท่งยาว หลักการทำงานของคานใช้หลักของโมเมนต์


รูปแสดงลักษณะของคาน
ส่วนประกอบของคาน ส่วนประกอบที่สำคัญในการทำงานของคานมี 3 ส่วน คือ
1. จุดหมุนหรือจุดฟัลกรัม (Fulcrum) F
2. แรงความต้านทาน (W) หรือน้ำหนักของวัตถุ
3. แรงความพยายาม (E) หรือแรงที่กระทำต่อคาน
การจำแนกคาน คานจำแนกได้ 3 ประเภทหรือ 3 อันดับดังนี้
1. คานอันดับที่ 1 เป็นคานที่มีจุด (F) อยู่ระหว่างแรงความพยายาม (E) และแรงความต้านทาน (W) เช่น กรรไกรตัดผ้า กรรไกรตัดเล็บ คีมตัดลวด เรือแจว ไม้กระดก เป็นต้น
รูปแสดงคานอันดับ 1

2. คานอันดับ 2 เป็นคานที่มีแรงความต้านทาน (W) อยู่ระหว่างแรงความพยายาม (E) และจุดหมุน (F) เช่น ที่เปิดขวดน้ำอัดลม รถเข็นทราย ที่ตัดกระดาษ เป็นต้น
รูปแสดงคานอันดับ 2
3. คานอันดับที่ 3 เป็นคานที่มีแรงความพยายาม (E) อยู่ระหว่างแรงความต้านทาน (W) และจุดหมุน (F) เช่น ตะเกียบ คีมคีบถ่าน แหนบ เป็นต้น
รูปแสดงคานอันดับ 3

การ ผ่อนแรงของคาน จะมีค่ามากหรือน้อยโดยดูจากระยะ E ถึง F และ W ว่าถ้าระยะ EF ยาวหรือสั้นกว่าระยะ WF ถ้าในกรณีที่ยาวกว่าก็จะช่วยผ่อนแรง ถ้าสั้นกว่าก็จะไม่ผ่อนแรง

หลักการคำนวณเรื่องคาน มีดังนี้
1. ถ้าโจทย์ไม่บอกน้ำหนักของคานมาให้ เราไม่ต้องคิดน้ำหนักของคาน ถือว่าคานนั้นเบามาก
2. ในการคำนวณให้ถือว่า คานมีขนาดสม่ำเสมอกันตลอด
3. ถ้าโจทย์บอกน้ำหนักคานมาให้ต้องคิดน้ำหนักคานด้วย โดยถือว่าน้ำหนักของคานจะอยู่จุดกึ่งกลางคานเสมอ
4. เมื่อคานอยู่ในสภาวะสมดุล โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกาเท่ากับโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา
5. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา หรือโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกามีค่าเท่ากับ ผลบวกของโมเมนต์ย่อยแต่ละชนิด
6. เมื่อมีแรงมากระทำที่จุดหมุน ค่าของโมเมนต์มีค่าเท่ากับศูนย์เพราะระยะทางเป็นศูนย์ ดังนี้
โมเมนต์ = แรง x ระยะทางตั้งฉากจากจุดหมุนถึงแนวแรง
= แรง x 0
โมเมนต์ = 0

หลักการคำนวณเรื่องโมเมนต์ เช่น
ตัวอย่าง ที่ 1 คานอันหนึ่งเบามากมีน้ำหนัก 30 นิวตันแขวนที่ปลายคานข้างหนึ่ง และอยู่ห่างจุดหมุน 2 เมตร จงหาว่าจะต้องแขวนน้ำหนัก 15 นิวตัน ทางด้านตรงกันข้ามที่ใดคานจึงจะสมดุล

วิธีทำ สมมุติให้แขวนน้ำหนัก 15 นิวตัน ห่างจากจุดหมุน x เมตร คิดโมเมนต์ที่จุด F

ต้องแขวนน้ำหนัก 15 นิวตัน ห่างจากจุดหมุน 4 เมตร ตอบ

ตัวอย่าง ที่ 2 คานยาว 10 เมตรงัดวัตถุหนัก 100 นิวตัน โดยวางให้จุดหมุนอยู่ห่างจากวัตถุ 1 เมตร จงหาว่า จะต้องออกแรงที่ปลายคานอีกข้างหนึ่งเท่าไร

วิธีทำ คิดโมเมนต์ที่จุด F

ต้องออกแรงพยายาม = 11.11 นิวตัน ตอบ
เรื่อง โมเมนต์ของแรง
แรง (force) คือ อำนาจอย่างหนึ่งซึ่งสามารถทำให้หรือพยายามทำให้วัตถุเปลี่ยนภาวะจากการหยุด นิ่ง เป็นการเคลื่อนที่ หรือภาวะจากการเคลื่อนที่เป็นการหยุดนิ่ง
หน่วยของแรง แรงมีหน่วยเป็นนิวตัน (N)
ผลของแรง
1. แรงทำให้วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรง เกิดเป็นงาน
2. แรงทำให้วัตถุหมุนรอบจุดๆ หนึ่ง เกิดเป็นโมเมนต์
โมเมนต์ (moment) หมายถึง ผลคูณของแรงกับระยะทางตั้งฉากจากจุดหมุนไปยังแนวแรง หรือ
โมเมนต์ = แรง x ระยะทางตั้งฉากจากจุดหมุนไปยังแนวแรง
หน่วยของโมเมนต์ โมเมนต์มีหน่วยเป็น นิวตันเมตร
โมเมนต์มี 2 ชนิด คือ

1. โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา
2. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา
กฏของโมเมนต์
เมื่อวัตถุชิ้นหนึ่งถูกกระทำด้วยแรงหลายแรง แล้ววัตถุนั้นอยู่ในภาวะสมดุลจะได้ว่า
ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = ผลรวมของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น


การจำแนกสารรอบตัว

การจำแนกสารรอบตัว
1. ถ้าใช้สถานะของสารเป็นเกณฑ์ สามารถจัดกลุ่มได้ 3 กลุ่มดังนี้
1.1 สารที่มีสถานะเป็นของแข็ง
1.2 สารที่มีสถานะเป็นของเหลว
1.3 สารที่มีสถานะเป็นก๊าซ
2. ถ้าใช้สารเป็นเกณฑ์ สามารถจัดได้ 2 กลุ่มคือ สารเนื้อเดียวสารเนื้อ และประสม
2.1 สารเนื้อเดียว หมายถึง สารชนิดเดียวหรือสาร 2 ชนิดผสมกันอยู่อย่างกลมกลืนกัน2.2 สารเนื้อผสม หมายถึง สารตั้งแต่ 2 ชนิดผสมกันแต่เนื้อสารไม่กลมกลืนกันสารละลายสารละลาย หมายถึง สารที่ไม่บริสุทธิ์ตั้งแต่ 2 ชนิดมารวมกัน แล้วเกิดละลายเป็นเนื้อเดียวกัน สารละลาย มี 3ชนิดคือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซสารละลายเข้มข้น หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกทำลายมากสารละลายเจือจาง หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกทำลายน้อยสารละลายอิ่มตัว หมายถึง สารละลายที่ไม่สามารถละลายตัวถูกละลายได้อีกสารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง หมายถึง สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่ในปริมาณที่เกินกว่าอัตราที่ละลาย ได้ที่อุณหภูมิห้องสารบริสุทธิ์สารบริสุทธิ์ หมายถึง สารเนื้อเดียวที่มีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว จึงมีสมบัติเหมือนกันตลอด สารที่ใช้ในบ้าน1.สารที่เป็นกรด หมายถึง สารที่สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเปลี่ยนเป็นสีแดงแต่ไม่เปลี่ยน สีกระดาษลิตมัสสีแดง2.สารที่เป็นเบส หมายถึง สารที่สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงินแต่ไม่เปลี่ยนสีกระดาษ ลิตมัสสีน้ำเงิน3.สารที่เป็นกลาง หมายถึง สารที่ไม่สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสทั้ง 2 สี
ที่มาhttp://www.geocities.com/sci123th/m3.html
เขียนโดย เด็กหญิง ศิรินันท์ เรืองมั่น 0 ความคิดเห็น
ที่มาhttp://www.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.corrosionsource.com/handbook/periodic/periodic_table.gif&imgrefurl=http://blog.hunsa.com/piyanunthancha/cat/14801&h=480&w=580&sz=19&tbnid=G4wY8RtD2Q3AMM:&tbnh=111&tbnw=134&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2598%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B8&hl=th&usg=___JmxKLQmszAiPp10-mNzkXgAQxI=&ei=z0acSoiAEYuNkAWjzcG3Dw&sa=X&oi=image_result&resnum=6&ct=imageจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีดมีตรี
เมนเดเลเยฟ บิดาแห่งตารางธาตุตารางธาตุ คือ ตารางที่ใช้แสดงธาตุเคมี คิดค้นขึ้นโดยนักเคมีชาวรัสเซีย ดมีตรี เมนเดเลเยฟ ในปี พ.ศ. 2412[1] จากการสังเกตว่าเมื่อนำธาตุต่างๆมาเรียงตัวลำดับเลขอะตอม คุณสมบัติต่าง ๆ ของธาตุที่นำมาเรียงนั้นจะมีลักษณะคล้ายกันเป็นช่วง ๆ ซึ่งในปัจจุบันตารางธาตุได้เป็นส่วนหนึ่งในการเรียนการสอนวิชาเคมีด้วยเริ่มต้นจาก จอห์น นิวแลนด์ส ได้พยายามเรียงธาตุตามมวลอะตอม แต่เขากลับทำให้ธาตุที่มีสมบัติต่างกันมาอยู่ในหมู่เดียวกัน นักเคมีส่วนมากจึงไม่ยอมรับตารางธาตุของนิวแลนด์ส ต่อมา ดมีตรี เมนเดเลเยฟ จึงได้พัฒนาโดยพยายามเรียงให้ธาตุที่มีสมบัติเหมือนกันอยู่ในหมู่เดียวกัน และเว้นช่องว่างไว้สำหรับธาตุที่ยังไม่ค้นพบ พร้อมกันนั้นเขายังได้ทำนายสมบัติของธาตุใหม่ไว้ด้วย โดยใช้คำว่า เอคา (Eka) นำหน้าชื่อธาตุที่อยู่ด้านบนของธาตุที่ยังว่างอยู่นั้น เช่น เอคา-อะลูมิเนียม (ต่อมาคือธาตุแกลเลียม) เอคา-ซิลิคอน (ต่อมาคือธาตุเจอร์เมเนียม) แต่นักเคมีบางคนในยุคนั้นยังไม่แน่ใจ เนื่องจากว่าเขาได้สลับที่ธาตุบางธาตุโดยเอาธาตุที่มีมวลอะตอมมากกว่ามาไว้หน้าธาตุที่มีมวลอะตอมน้อยกว่า ดมีตรีได้อธิบายว่า เขาต้องการให้ธาตุที่มีสมบัติเดียวกันอยู่ในหมู่เดียวกัน เมื่อดมีตรีสามารถทำนายสมบัติของธาตุได้อย่างแม่นยำ และตารางธาตุของเขาไม่มีข้อน่าสงสัย ตารางธาตุของดมีตรีก็ได้รับความนิยมจากนักเคมีในสมัยนั้นเป็นต้นมาที่มาth.wikipedia.org/wiki/ตารางธาตุ
เขียนโดย เด็กหญิง ศิรินันท์ เรืองมั่น 0 ความคิดเห็น